Jcampa

ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าเยี่ยมชม และออกความเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน

You are cordially invited to join sharing your experience here.

เชิญร่วมแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันตรงนี้


ค้นหาบล็อกนี้

วันเสาร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 25). – Message of the Day-30 October 2010

(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

หมายเหตุ: [ข้อความที่ทำเป็นตัวเอน พร้อมทั้งขีดเส้นใต้ ทำไว้เพื่อให้สะดวกกับผู้อ่าน หากท่านที่เข้าใจความหมายคำหลักเหล่านั้นอยู่แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องไปพะวงอ่าน คำอธิบายความหมายที่อยู่ในวงเล็บดังกล่าว ให้ข้ามข้อความตรงนั้นไปเลย จะได้อ่านไม่ขาดตอน ไม่ทำให้ขาดความกลมกลืนในเนื้อหา ที่อธิบายไว้ก็เพื่อให้ชาวต่างชาติ หรือคนที่ไม่สันทัดกับคำหรือข้อความหลักเหล่านั้น จะได้เข้าใจความหมายถูกว่า ทางพระท่านหมายถึงอะไรได้บ้าง]

------25------

Understand Rupha Nama (the matter and the mind) and look at them in order to know them convincingly.

- Commencing from Paticcasamuppada (the law of causation; actions being performed subject to one another to take place step by step), which mentions to Avitcha (the lack of essential knowledge; ignorance), not knowing Rupha (matter), or neither knowing substance nor energy existing in the nature. Hence, there is an act of Kamma (good or bad deed; a volitional action) at the time there is a thing happening to strike it.

- It is stated that Avitcha (the lack of essential knowledge; ignorance) is a factor causing the Sankhara (the world of phenomena) to take place.

- The Sankhara (the world of phenomena) is any act causing things to happen under the influence of the lack of knowing about the traces of things that how things have been up to, or not knowing that the Sankhara (the world of phenomena) consists of Moha Avitcha (ignorant delusion).

- Hence, in order to know what is happening with Rupha Nama (the matter and the mind), one must observe and study the aspects of Rupha Nama (the matter and the mind) clearly on both reasons of their origin and end, together with the phenomena that are really appearing at hand (see 5, 8, 26, 27).

- It is said that Rupha Dhatu (matter of elements) consists of soil, water, wind, and fire, combining together to show Rupha (the matter) and Nama (the mind), causing them to take place (because this thing has existed, this thing therefore exists). They scatter and separate from each other, then become the broken Rupha (matter) and the vanished Nama (mind). The emptiness takes place, at where it has initially existed, and it is the place where soil, water, wind and fire impel one another, exhibiting the states of that Rupha (matter) and Nama (mind).

(ต้นฉบับภาษาไทย)

เข้าใจรูปนามและดูให้รู้เห็นจริง

- เริ่มต้นปฏิจจสมุปบาท (ธรรมที่อาศัยกันเกิดเป็นขั้นเป็นตอน) กล่าวถึง อวิชชา ไม่รู้จักรูปหรือสสารและพลังงานที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ จึงเกิดการกระทำกรรมตามวาระที่มีสิ่งกระทบมา

- ท่านบัญญัติไว้ว่า อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร

- สังขารคือการกระทำต่างๆไปตามอำนาจของความไม่รู้เค้าเงื่อนของสิ่งต่างๆ ว่ามีความเป็นมา เป็นไปอย่างไร เป็นสังขารประกอบด้วยโมหะอวิชชา

- ดังนั้นเพื่อให้รู้ความเป็นมาเป็นไปของรูปนาม จึงต้องสังเกตศึกษาในเรื่องรูปนาม ให้เป็นที่กระจ่างชัด ทั้งเหตุผลต้นปลาย และอาการที่ปรากฏอยู่จริงเฉพาะหน้า (ดู 15,8,26,27)

- ท่านแสดงไว้ว่า รูปธาตุประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ จับกลุ่มกันแสดงรูปและนามให้ปรากฏขึ้นมา (เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี) แล้วก็แตกกระจาย แยกย้ายออกจากกัน เป็นรูปแตกนามดับ เหลืออยู่แต่ความว่างเปล่า ที่เป็นอยู่ก่อนที่ ดิน น้ำ ลม ไฟจะดูดผลักกันแสดงรูปและนามนั้น

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา - Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 24). – Message of the Day-29 October 2010






(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

หมายเหตุ: [ข้อความที่ทำเป็นตัวเอน พร้อมทั้งขีดเส้นใต้ ทำไว้เพื่อให้สะดวกกับผู้อ่าน หากท่านที่เข้าใจความหมายคำหลักเหล่านั้นอยู่แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องไปพะวงอ่าน คำอธิบายความหมายที่อยู่ในวงเล็บดังกล่าว ให้ข้ามข้อความตรงนั้นไปเลย จะได้อ่านไม่ขาดตอน ไม่ทำให้ขาดความกลมกลืนในเนื้อหา ที่อธิบายไว้ก็เพื่อให้ชาวต่างชาติ หรือคนที่ไม่สันทัดกับคำหรือข้อความหลักเหล่านั้น จะได้เข้าใจความหมายถูกว่า ทางพระท่านหมายถึงอะไรได้บ้าง]

------24------

The same process used for considering Paticcasamuppada (the law of causation; truths subject to one another to take place step by step).

- Once one has acquainted oneself with the standard phenomenon of the continually flowing nature, he / she still needs to keep observing it repeatedly in order to understand vibration, fluttering and fading out clearly and in more detail, in such calmness.

- From the state that touches inside the body causing us to know it, and consider it in terms of Sati Path-than 4 (the four foundations of mindfulness), causing us to see Kaya (physical body), of Vedhana (sensation), and of Citta (thought; a state of consciousness), and of Dham (states of being active; actions being performed) to be in the state understandable and seeable, which really appears during Ayatana (the senses) striking one another at all times. (see 19)

- And from the same state, it can be brought to consider in terms of the Khantha (aggregates), happening and disappearing in which there are Ayatana (the senses), Khantha (aggregates) and Dhatu (elements; natural conditions) included. (see 5)

- Next, consider this state in accordance with Paticcasamuppada (the law of causation; truths subject to one another to take place step by step) in order to understand and see the reality of Saphava Dham (states of being active; actions being carried on) in more detail until one can appreciate its real nature fully.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

กระบวนการเดิมใช้พิจารณาปฏิจจสมุปบาท

- เมื่อคุ้นเคยกับอาการมาตรฐานไหลเรื่อยของธรรมชาติแล้ว ก็ยังคงสังเกตอยู่อย่างซ้ำซาก เพื่อรู้ชัดในความสะเทือนพลิ้วหายที่ละเอียดยิ่งขึ้น ในความสงบสงัดนั้น

- จากสภาวะที่สัมผัสรู้ภายในกาย และได้พิจารณาในแง่สติปัฏฐาน 4 เห็นกาย เวทนา จิต ธรรม เป็นที่เข้าใจและเห็นสภาวะปรากฏจริง ในขณะที่อายตนะกระทบกัน อยู่ทุกขณะ (ดู 19)

- และจากสภาวะเดียวกันนี้ ก็นำมาพิจารณาในแง่ขันธ์ 5 เกิดดับซึ่งมีอายตนะ ขันธ์ธาตุประกอบอยู่ (ดู 5)

- ต่อไปก็พิจารณาสภาวะนี้ให้เข้าหลักปฏิจจสมุปบาท เพื่อความเข้าใจจริงในสภาวธรรม ให้ละเอียดยิ่งขึ้น จนถึงแก่นแท้

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

วันพฤหัสบดีที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 23). – Message of the Day-28 October 2010






(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

------23------


Practice observing the said process repeatedly until getting familiar with the process.

- If one observes the impact or the flow coming to strike Ayatana (senses) from each direction, there will be processes of striking, bouncing, vibrating, fluttering and fading out, and calmness taking place all the time.

- But due to the nature flows in from all directions similar to a heavy rain falling onto water surface repeatedly, pounding on water surface, until it causes a rapid momentum to take place and the momentum itself will then become calm and quiet so quickly.

- Person practicing observation of the impact thereof well will be in no doubt about all of those processes, even seeing only in time while the calmness is taking place, he / she will have a firm understanding and seeing of the processes without being indecisive, nor confusion of knowing or not knowing it, because he / she has practiced such observation and been familiar with the processes to the extent that he / she can touch the consistent momentum harmonizing with the phenomena of striking, bouncing, vibrating, fluttering and fading out, and calmness। Seeing merely one phenomenon visibly can make other phenomena harmonizing with one another clearer.


(ต้นฉบับภาษาไทย)


ฝึกฝนซ้ำซากให้คุ้นเคยกับกระบวนการ

- ถ้าสังเกตการณ์กระทบ หรือการไหลมากระทบแต่ละทาง ก็จะมีกระบวนการ กระทบ กระดอน สะเทือน พลิ้วหาย สงบสงัดอยู่ทุกขณะ

- แต่เพราะธรรมชาติหลั่งไหลรุมล้อมมาทุกทาง ก็จะมีสภาพเหมือนฝนตกหนักลงบนพื้นน้ำ กระหน่ำลงซับซ้อน จนโมเมนตั้มเร็วระรัว และรุดสู่สงบสงัดอย่างรวดเร็ว

- ผู้ฝึกฝนดีแล้ว ก็จะไม่สงสัยในกระบวนการทั้งหมด แม้จะเห็นทันเฉพาะตรงความสงบสงัด ก็มั่นคงในการรู้เห็น ไม่หวั่นไหวไปกับความปั่นป่วนยุ่งเหยิง ว่ารู้หรือไม่รู้ เพราะฝึกฝนจนสัมผัสกับโมเมนตั้มที่กลมกลืนกันของอาการกระทบ กระเด็น สะเทือน พลิ้วหาย สงบสงัด มาอย่างคุ้นเคยแล้ว เห้นชัดเพียงหนึ่งอาการ ก้หยั่งรู้อาการอื่นที่กลมเกลียวอยู่ด้วยกัน

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

วันอังคารที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 21, 22). – Message of the Day-26 October 2010


(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

------21------

Look at Kaya (physical body), Vedhana (sensation), Citta (thoughts or a state of consciousness), and Dham (states of being active; actions being carried on) that use every Dhavara (bodily doors) to take place.

- When one has clearly understood the processes of Kaya (physical body), Vedhana (sensation), Citta (thoughts; a state of consciousness), and Dham (states of being active; action being performed), resulted from the phenomenon of breathing in and out, to the extent that one has become skillful in the processes. The observation will then be focused on the flow of sound, smell, taste, Rupha (appearance), and thinking, that come to strike the ears, nose, tongue, eyes, physical body, and mind, in order to see whether it has phenomena (state known through the senses) of, striking, bouncing, vibrating, fluttering, fading out, calmness and quiet of the physical body. Vedhana (sensation), Citta (thoughts; a state of consciousness), and all Dham (states of being active; actions being performed) resulted from external Ayatana (senses), will also flow into the internal Ayatana (senses).

- There will only be Kaya (the physical body), Vedhana (sensation), Citta (thought a state of consciousness), and Dham (states of being active; actions being carried on), which are in the nature of continual flow, always exhibiting Anij-jang (the impermanent; continuing changing in status or condition or place), Dukkha (withstanding the status or condition without change), and Anatta (not gathering the separate units into a mass or whole) all the time.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

ดูกาย เวทนา จิต ธรรมที่อาศัยเกิดในทุกวงจร

- เมื่อรู้ชัดกระบวนการของกาย เวทนา จิต ธรรม ที่อาศัยปรากฏเพราะลมหายใจเข้าออกจนชำนาญแล้ว ก็สังเกตการณ์ไหลมาของ เสียง กลิ่น รส รูป และคิดนึก ที่มากระทบหู จมูก ลิ้น ตา กาย ใจ ว่ามีอาการกระทบ กระดอน สั่นสะเทือน พลิ้วหาย สงบสงัดของกาย เวทนา จิต ธรรม ที่เกิดจากอายตนะ ภายนอกไหลมาสู่อายตะนะภายใน เข่นเดียวกันหมด

- จึงมีแต่กาย เวทนา จิต ธรรม เป็นธรรมชาติไหลเรื่อย แสดงอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อยู่ตลอดเวลา

------22------

Consider the continually flowing nature according to principles of Lak Trilak (the three signs of being or common characteristics).

- It changes from the striking action to the bouncing action, and from the vibration, in which it keeps occurring frequently and quickly, to fluttering, disappearing, and calmness. This state will always keep changing as such; this is what is called “Anij-jang (the impermanent)”.

- While striking action taking place, it will disappear right away. It can not withstand the striking state. When it changes to new state; it bounces, vibrates, flutters and fades away, even in the said states, it can not withstand its original states; it must disappear right away. This is what is called “the state of Saphap Dukkha (condition of sorrow; misery)”. It is unable to withstand remaining in its state, and it is not stable either.

- It is because the changes take place and vanish abruptly, as such, one can not control the changes as he / she desires to do. It is therefore Anatta (not gathering the separate units into a mass or whole). It has apparent features and phenomena, but without its real entity.

- After having seen and understood the bodily processes of Kaya (physical body), Vedhana (sensation), Citta (thought; a state of consciousness), and Dham (states of being active; actions being carried on) in which they are always in the continually flowing motion. The Anij-jang (the impermanent; continuing changing in status or condition or place), Dukkha (withstanding the status or condition without change), and Anatta (not gathering the separate units into a mass or whole) will then be visibly seen.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

พิจารณาธรรมชาติไหลเรื่อยเข้าหลักไตรลักษณ์

- จากกิริยากระทบ แล้วเปลี่ยนเป็นกระดอน เปลี่ยนเป็นสะเทือน แล้วถี่ขึ้นเป็นพลิ้วหาย สงบสงัด การเปลี่ยนสถานะอยู่เสมอคือ อนิจจัง

- ขณะกระทบ ก็ดับสภาพกระทบทันที ทนอยู่ในสภาพกระทบไม่ได้ พอเปลี่ยนสถานะใหม่ เป็นกระเด็นกระดอน สั่นสะเทือน พลิ้วหาย ก้ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ต้องดับทันที เป็น สภาพทุกข์ ทนอยู่ไม่ได้ ไม่คงทน

- เพราะความที่เปลี่ยนไป และด่วนดับ จึงไม่อาจบังคับให้เป็นไปตามความต้องการ จึงเป็น อนัตตา มีลักษณะอาการปรากฏ แต่ไม่เป็นตัวตนที่แท้จริง

- เมื่อรู้เห็นกระบวนการของกาย เวทนา จิต ธรรม ไหลเรื่อย ตลอดเวลา ก็จะประจักษ์แจ้งใน อนิจจัง ทุกขังอนัตตา

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

วันศุกร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 19, 20). – Message of the Day-23 October 2010

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 19, 20). – Message of the Day-23 October 2010

(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

------19------

By using the natural process for considering Sati Path-than 4 (the four foundations of mindfulness).

- While breathing in and out normally, the breath is the outside Ayatana (senses) flowing to strike the body, which is the inside Ayatana (senses), then the momentum will flow through the entire body, causing a reaction of those striking, bouncing, vibrating, fading out, and calmness to bring about many times.

- From the reaction of those phenomena, the whole fluttering phenomenon, occurring from the head down to the feet, those phenomena resulted from the reaction are called Kaya (physical body), and also the name of Vethana (sensation) is given to a feeling hidden inside the fluttering of the body.

- The state of awareness of bodily fluttering and the feeling occurring inside the fluttering are termed Citta (thoughts; a state of consciousness).

- The state of being different from the present status of Kaya (physical body), Vedhana (sensation), and Citta (thought or a state of consciousness) will later change to another status as such, it is then termed Dham (states of being active; action being performed), which is the original group that has disappeared and been replaced by a new group.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

อาศัยกระบวนการธรรมชาติไปพิจารณาสติปัฏฐาน 4

- ขณะหายใจเข้าออกตามปกติ ลมหายใจเป็นอายตนะภายนอก ที่ไหลมากระทบร่างกาย ซึ่งเป็นอายตนะภายใน แล้วโมเมนตั้มไหลเคลื่อนไปทั่วกาย เกิดกีริยากระทบกระดอน สั่นสะเทือนพลิ้วหาย สงบสงัด แล้วๆเล่าๆ

- จากปฏิกิริยาเหล่านี้ ท่านบัญญัติอาการพลิ้วไหวทั้งกลุ่ม ตั้งแต่ศรีษะจรดเท้าว่า กาย บัญญัติความรู้สึกที่แฝงอยู่ในความพลิ้วของกายว่า เวทนา

- บัญญัติภาวะที่รู้กายพลิ้ว และรู้ความรู้สึกในความพลิ้วว่า จิต

- บัญญัติในภาวะที่แตกต่างจากสถานะที่เป็นอยู่แล้วเปลี่ยนไปของ การ เวทนา จิต ว่า ธรรม คือกลุ่มดับไปแล้วกลุ่มใหม่มาแทน

------20------

Trying to concurrently consider both coarseness and delicacy of feelings.

- Simply take a look at the comparable groups; those are the normal breathings in and out. The group of physical body will move, while breathing in, it moves up, and while breathing out it moves down. This is a coarse or harsh state that we can easily look at it while the breathing cycles keep going on.

- Keep on observing the coarse moving up and down of the breath, one will feel a slight and frequent vibration moving up and down. That is the delicate or fine state which has concurrently taken place; this is because the momentum of energy resulted from the manner of motion. One must observe it to the extent that he / she can understand and see it clearly. The wisdom will, of course, be developed. (See 12)

(ต้นฉบับภาษาไทย)

พิจารณาควบกันทั้งหยาบละเอียด

- ดูง่ายทั้งกลุ่ม เปรียบเทียบกัน ขณะหายใจตามปกติ กายก็เคลื่อนทั้งกลุ่ม ขณะหายใจเข้าเคลื่อนขึ้น หายใจออกเคลื่อนลง นี่เป็นสภาวะหยาบๆ ดูรู้ได้ง่าย ตามจังหวะลมหายใจ

- สังเกตต่อไปในความเคลื่อนไหวขึ้นลงหยาบๆ จะรู้สึกในอาการไหวสะเทือนเบาๆถี่ๆ อยู่ในความเคลื่อนไหวขึ้นลง นั่นคือสภาวะละเอียดได้เกิดซ้อน เพราะเมนตั้งของพลังงานที่เกิดจากอาการเคลื่อนไหว ต้องสังเกตให้รู้เห็นจริง จึงจะเกิดปัญญา (ดู 12)

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 17, 18). – Message of the Day-21 October 2010

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 17, 18). – Message of the Day-21 October 2010



(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiple.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

------17------

Practice the internal process extensively.

- By comparing the rules of natural reality for observation and consideration will certainly be able to obviously see that striking, scattering, fluttering, fading out and calmness do exist in breathing.

- When such evidence has occurred in the body, one will be able to use it as a tool for researching the entire nature in the universe, because all the processes of Proong Taeng (a combination of elements into a group of nature; putting into another state different from its initial state) are all in the same standard.

- By using the process of breathing in and out, we will be able to understand the process of eyes, ears, nose, body, and mind thoroughly,

because breathing is the physical process, which can help us understand the matters of

Ayatana (the senses), Khantha (aggregates) and Dhatu (elements, natural conditions)

thoroughly and completely.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

ฝึกฝนให้มากในกระบวนการภายใน

- อาศัยเปรียบเทียบกฎเกณฑ์ความเป็นจริงของธรรมชาติ มาประกอบการสังเกตพิจารณา ก็จะสามารถประจักษ์ชัดในอาการกระทบกระดอน สะเทือนพลิ้วหาย สงบสงัด ว่ามีจริงในการหายใจ

- เมื่อได้ประจักษ์พยานเช่นนี้ในตัว ก็จะได้อาศัยเป็นเครื่องมือค้นคว้าธรรมชาติทั้งปวงในจักรวาล เพราะกระบวนการปรุงแต่งของธรรมชาติ ล้วนเป็นมาตรฐานเดียวกัน

- อาศัยกระบวนการของลมหายใจเข้าออก ก็จะสามารถรู้แจ้ง กระบวนการทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ได้ เพราะลมหายใจเป็นกระบวนการกายที่รู้ได้ละเอียดทั่วถึง ในเรื่องอายตนะ ขันธ์ ธาตุ ทั่วถ้วน

------18------

Keep practicing the internal process regularly when the process has become complicated.

- From now on, the person practicing the internal process will collect data and natural characteristics, which have appeared to cause one to know that what has caused those reactions to take place and how those reactions have caused such effects? By what reasons are those reactions initiated? How do they relate to other things? It depends on what will prominently occur in the perception.

- Always determine to understand the reaction of the breath in order to use it as a principal of perception, the reaction itself displaying its phenomena (cycles) repeatedly, while other things concurrently exhibiting the intervention into the phenomena are all Tathata (it is what it is) as well.

- While breathing in and out normally, when there is a sound, smell, taste, touch, and recall appearing to intervene the breathing simultaneously, it can certainly be known as per the fact, and it will be known further that such reaction of the breath, in that manner, is the principle of the perception.

- Observe it repeatedly one will then know the system of complex nature better, since it will be used as data for further consideration in detail.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

ฝึกฝนเมื่อกระบวนการซับซ้อน

- ต่อไปก็เก็บข้อมูลคุณสมบัติต่างๆของธรรมชาติ ที่ปรากฏให้รู้ว่า อะไรมีปฏิกิริยาอย่างไร เพราะเหตุใด เกี่ยวข้องกับสิ่งอื่นอย่างไร สุดแท้แต่อะไรปรากฏเด่นขึ้นมาให้รับรู้

- การกำหนดรู้ปฏิกิริยาของลมหายใจ ให้เป็นหลักรู้อยู่เสมอ แสดงวงจรซ้ำซาก สิ่งอื่นที่แสดงวงจรซ้อนเข้ามา ล้วนแสดงตถตาเช่นกัน

- ขณะหายใจเข้าออกตามปกติ เมื่อมีเสียง กลิ่น รส สัมผัส คิดนึก ซ้อนเข้ามา ก็รู้ได้ตามความเป็นจริง และยังคงรู้ปฏิกิริยาของลมหายใจเป็นหลักอยู่เช่นเดิม

- สังเกตซ้ำซากก็จะรู้ระบบของธรรมชาติที่ซับซ้อน เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับพิจารณาให้ละเอียดเข้าไปอีก

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]