That is the way the nature is (หัวข้อที่ 19, 20). – Message of the Day-23 October 2010
(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)
That is the way the nature is.
บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา
ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง
ซึ่งเขียนโดย
อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)
(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)
แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง
36 หมู่ 11 ต. เกาะพลับพลา
อ. เมือง จ. ราชบุรี 70000
จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ
สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่
Visit us at:
และ
http://jcampa-newlook.blogspot.com/
------19------
By using the natural process for considering Sati Path-than 4 (the four foundations of mindfulness).
- While breathing in and out normally, the breath is the outside Ayatana (senses) flowing to strike the body, which is the inside Ayatana (senses), then the momentum will flow through the entire body, causing a reaction of those striking, bouncing, vibrating, fading out, and calmness to bring about many times.
- From the reaction of those phenomena, the whole fluttering phenomenon, occurring from the head down to the feet, those phenomena resulted from the reaction are called Kaya (physical body), and also the name of Vethana (sensation) is given to a feeling hidden inside the fluttering of the body.
- The state of awareness of bodily fluttering and the feeling occurring inside the fluttering are termed Citta (thoughts; a state of consciousness).
- The state of being different from the present status of Kaya (physical body), Vedhana (sensation), and Citta (thought or a state of consciousness) will later change to another status as such, it is then termed Dham (states of being active; action being performed), which is the original group that has disappeared and been replaced by a new group.
(ต้นฉบับภาษาไทย)
อาศัยกระบวนการธรรมชาติไปพิจารณาสติปัฏฐาน 4
- ขณะหายใจเข้าออกตามปกติ ลมหายใจเป็นอายตนะภายนอก ที่ไหลมากระทบร่างกาย ซึ่งเป็นอายตนะภายใน แล้วโมเมนตั้มไหลเคลื่อนไปทั่วกาย เกิดกีริยากระทบกระดอน สั่นสะเทือนพลิ้วหาย สงบสงัด แล้วๆเล่าๆ
- จากปฏิกิริยาเหล่านี้ ท่านบัญญัติอาการพลิ้วไหวทั้งกลุ่ม ตั้งแต่ศรีษะจรดเท้าว่า กาย บัญญัติความรู้สึกที่แฝงอยู่ในความพลิ้วของกายว่า เวทนา
- บัญญัติภาวะที่รู้กายพลิ้ว และรู้ความรู้สึกในความพลิ้วว่า จิต
- บัญญัติในภาวะที่แตกต่างจากสถานะที่เป็นอยู่แล้วเปลี่ยนไปของ การ เวทนา จิต ว่า ธรรม คือกลุ่มดับไปแล้วกลุ่มใหม่มาแทน
------20------
Trying to concurrently consider both coarseness and delicacy of feelings.
- Simply take a look at the comparable groups; those are the normal breathings in and out. The group of physical body will move, while breathing in, it moves up, and while breathing out it moves down. This is a coarse or harsh state that we can easily look at it while the breathing cycles keep going on.
- Keep on observing the coarse moving up and down of the breath, one will feel a slight and frequent vibration moving up and down. That is the delicate or fine state which has concurrently taken place; this is because the momentum of energy resulted from the manner of motion. One must observe it to the extent that he / she can understand and see it clearly. The wisdom will, of course, be developed. (See 12)
(ต้นฉบับภาษาไทย)
พิจารณาควบกันทั้งหยาบละเอียด
- ดูง่ายทั้งกลุ่ม เปรียบเทียบกัน ขณะหายใจตามปกติ กายก็เคลื่อนทั้งกลุ่ม ขณะหายใจเข้าเคลื่อนขึ้น หายใจออกเคลื่อนลง นี่เป็นสภาวะหยาบๆ ดูรู้ได้ง่าย ตามจังหวะลมหายใจ
- สังเกตต่อไปในความเคลื่อนไหวขึ้นลงหยาบๆ จะรู้สึกในอาการไหวสะเทือนเบาๆถี่ๆ อยู่ในความเคลื่อนไหวขึ้นลง นั่นคือสภาวะละเอียดได้เกิดซ้อน เพราะเมนตั้งของพลังงานที่เกิดจากอาการเคลื่อนไหว ต้องสังเกตให้รู้เห็นจริง จึงจะเกิดปัญญา (ดู 12)
------0------
[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]