Jcampa

ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าเยี่ยมชม และออกความเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน

You are cordially invited to join sharing your experience here.

เชิญร่วมแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันตรงนี้


ค้นหาบล็อกนี้

วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 17, 18). – Message of the Day-21 October 2010

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 17, 18). – Message of the Day-21 October 2010



(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiple.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

------17------

Practice the internal process extensively.

- By comparing the rules of natural reality for observation and consideration will certainly be able to obviously see that striking, scattering, fluttering, fading out and calmness do exist in breathing.

- When such evidence has occurred in the body, one will be able to use it as a tool for researching the entire nature in the universe, because all the processes of Proong Taeng (a combination of elements into a group of nature; putting into another state different from its initial state) are all in the same standard.

- By using the process of breathing in and out, we will be able to understand the process of eyes, ears, nose, body, and mind thoroughly,

because breathing is the physical process, which can help us understand the matters of

Ayatana (the senses), Khantha (aggregates) and Dhatu (elements, natural conditions)

thoroughly and completely.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

ฝึกฝนให้มากในกระบวนการภายใน

- อาศัยเปรียบเทียบกฎเกณฑ์ความเป็นจริงของธรรมชาติ มาประกอบการสังเกตพิจารณา ก็จะสามารถประจักษ์ชัดในอาการกระทบกระดอน สะเทือนพลิ้วหาย สงบสงัด ว่ามีจริงในการหายใจ

- เมื่อได้ประจักษ์พยานเช่นนี้ในตัว ก็จะได้อาศัยเป็นเครื่องมือค้นคว้าธรรมชาติทั้งปวงในจักรวาล เพราะกระบวนการปรุงแต่งของธรรมชาติ ล้วนเป็นมาตรฐานเดียวกัน

- อาศัยกระบวนการของลมหายใจเข้าออก ก็จะสามารถรู้แจ้ง กระบวนการทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ได้ เพราะลมหายใจเป็นกระบวนการกายที่รู้ได้ละเอียดทั่วถึง ในเรื่องอายตนะ ขันธ์ ธาตุ ทั่วถ้วน

------18------

Keep practicing the internal process regularly when the process has become complicated.

- From now on, the person practicing the internal process will collect data and natural characteristics, which have appeared to cause one to know that what has caused those reactions to take place and how those reactions have caused such effects? By what reasons are those reactions initiated? How do they relate to other things? It depends on what will prominently occur in the perception.

- Always determine to understand the reaction of the breath in order to use it as a principal of perception, the reaction itself displaying its phenomena (cycles) repeatedly, while other things concurrently exhibiting the intervention into the phenomena are all Tathata (it is what it is) as well.

- While breathing in and out normally, when there is a sound, smell, taste, touch, and recall appearing to intervene the breathing simultaneously, it can certainly be known as per the fact, and it will be known further that such reaction of the breath, in that manner, is the principle of the perception.

- Observe it repeatedly one will then know the system of complex nature better, since it will be used as data for further consideration in detail.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

ฝึกฝนเมื่อกระบวนการซับซ้อน

- ต่อไปก็เก็บข้อมูลคุณสมบัติต่างๆของธรรมชาติ ที่ปรากฏให้รู้ว่า อะไรมีปฏิกิริยาอย่างไร เพราะเหตุใด เกี่ยวข้องกับสิ่งอื่นอย่างไร สุดแท้แต่อะไรปรากฏเด่นขึ้นมาให้รับรู้

- การกำหนดรู้ปฏิกิริยาของลมหายใจ ให้เป็นหลักรู้อยู่เสมอ แสดงวงจรซ้ำซาก สิ่งอื่นที่แสดงวงจรซ้อนเข้ามา ล้วนแสดงตถตาเช่นกัน

- ขณะหายใจเข้าออกตามปกติ เมื่อมีเสียง กลิ่น รส สัมผัส คิดนึก ซ้อนเข้ามา ก็รู้ได้ตามความเป็นจริง และยังคงรู้ปฏิกิริยาของลมหายใจเป็นหลักอยู่เช่นเดิม

- สังเกตซ้ำซากก็จะรู้ระบบของธรรมชาติที่ซับซ้อน เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับพิจารณาให้ละเอียดเข้าไปอีก

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]