Jcampa

ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าเยี่ยมชม และออกความเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน

You are cordially invited to join sharing your experience here.

เชิญร่วมแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันตรงนี้


ค้นหาบล็อกนี้

วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 24). – Message of the Day-29 October 2010






(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

หมายเหตุ: [ข้อความที่ทำเป็นตัวเอน พร้อมทั้งขีดเส้นใต้ ทำไว้เพื่อให้สะดวกกับผู้อ่าน หากท่านที่เข้าใจความหมายคำหลักเหล่านั้นอยู่แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องไปพะวงอ่าน คำอธิบายความหมายที่อยู่ในวงเล็บดังกล่าว ให้ข้ามข้อความตรงนั้นไปเลย จะได้อ่านไม่ขาดตอน ไม่ทำให้ขาดความกลมกลืนในเนื้อหา ที่อธิบายไว้ก็เพื่อให้ชาวต่างชาติ หรือคนที่ไม่สันทัดกับคำหรือข้อความหลักเหล่านั้น จะได้เข้าใจความหมายถูกว่า ทางพระท่านหมายถึงอะไรได้บ้าง]

------24------

The same process used for considering Paticcasamuppada (the law of causation; truths subject to one another to take place step by step).

- Once one has acquainted oneself with the standard phenomenon of the continually flowing nature, he / she still needs to keep observing it repeatedly in order to understand vibration, fluttering and fading out clearly and in more detail, in such calmness.

- From the state that touches inside the body causing us to know it, and consider it in terms of Sati Path-than 4 (the four foundations of mindfulness), causing us to see Kaya (physical body), of Vedhana (sensation), and of Citta (thought; a state of consciousness), and of Dham (states of being active; actions being performed) to be in the state understandable and seeable, which really appears during Ayatana (the senses) striking one another at all times. (see 19)

- And from the same state, it can be brought to consider in terms of the Khantha (aggregates), happening and disappearing in which there are Ayatana (the senses), Khantha (aggregates) and Dhatu (elements; natural conditions) included. (see 5)

- Next, consider this state in accordance with Paticcasamuppada (the law of causation; truths subject to one another to take place step by step) in order to understand and see the reality of Saphava Dham (states of being active; actions being carried on) in more detail until one can appreciate its real nature fully.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

กระบวนการเดิมใช้พิจารณาปฏิจจสมุปบาท

- เมื่อคุ้นเคยกับอาการมาตรฐานไหลเรื่อยของธรรมชาติแล้ว ก็ยังคงสังเกตอยู่อย่างซ้ำซาก เพื่อรู้ชัดในความสะเทือนพลิ้วหายที่ละเอียดยิ่งขึ้น ในความสงบสงัดนั้น

- จากสภาวะที่สัมผัสรู้ภายในกาย และได้พิจารณาในแง่สติปัฏฐาน 4 เห็นกาย เวทนา จิต ธรรม เป็นที่เข้าใจและเห็นสภาวะปรากฏจริง ในขณะที่อายตนะกระทบกัน อยู่ทุกขณะ (ดู 19)

- และจากสภาวะเดียวกันนี้ ก็นำมาพิจารณาในแง่ขันธ์ 5 เกิดดับซึ่งมีอายตนะ ขันธ์ธาตุประกอบอยู่ (ดู 5)

- ต่อไปก็พิจารณาสภาวะนี้ให้เข้าหลักปฏิจจสมุปบาท เพื่อความเข้าใจจริงในสภาวธรรม ให้ละเอียดยิ่งขึ้น จนถึงแก่นแท้

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

ไม่มีความคิดเห็น: