Jcampa

ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าเยี่ยมชม และออกความเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน

You are cordially invited to join sharing your experience here.

เชิญร่วมแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันตรงนี้


ค้นหาบล็อกนี้

วันอังคารที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 21, 22). – Message of the Day-26 October 2010


(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

------21------

Look at Kaya (physical body), Vedhana (sensation), Citta (thoughts or a state of consciousness), and Dham (states of being active; actions being carried on) that use every Dhavara (bodily doors) to take place.

- When one has clearly understood the processes of Kaya (physical body), Vedhana (sensation), Citta (thoughts; a state of consciousness), and Dham (states of being active; action being performed), resulted from the phenomenon of breathing in and out, to the extent that one has become skillful in the processes. The observation will then be focused on the flow of sound, smell, taste, Rupha (appearance), and thinking, that come to strike the ears, nose, tongue, eyes, physical body, and mind, in order to see whether it has phenomena (state known through the senses) of, striking, bouncing, vibrating, fluttering, fading out, calmness and quiet of the physical body. Vedhana (sensation), Citta (thoughts; a state of consciousness), and all Dham (states of being active; actions being performed) resulted from external Ayatana (senses), will also flow into the internal Ayatana (senses).

- There will only be Kaya (the physical body), Vedhana (sensation), Citta (thought a state of consciousness), and Dham (states of being active; actions being carried on), which are in the nature of continual flow, always exhibiting Anij-jang (the impermanent; continuing changing in status or condition or place), Dukkha (withstanding the status or condition without change), and Anatta (not gathering the separate units into a mass or whole) all the time.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

ดูกาย เวทนา จิต ธรรมที่อาศัยเกิดในทุกวงจร

- เมื่อรู้ชัดกระบวนการของกาย เวทนา จิต ธรรม ที่อาศัยปรากฏเพราะลมหายใจเข้าออกจนชำนาญแล้ว ก็สังเกตการณ์ไหลมาของ เสียง กลิ่น รส รูป และคิดนึก ที่มากระทบหู จมูก ลิ้น ตา กาย ใจ ว่ามีอาการกระทบ กระดอน สั่นสะเทือน พลิ้วหาย สงบสงัดของกาย เวทนา จิต ธรรม ที่เกิดจากอายตนะ ภายนอกไหลมาสู่อายตะนะภายใน เข่นเดียวกันหมด

- จึงมีแต่กาย เวทนา จิต ธรรม เป็นธรรมชาติไหลเรื่อย แสดงอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อยู่ตลอดเวลา

------22------

Consider the continually flowing nature according to principles of Lak Trilak (the three signs of being or common characteristics).

- It changes from the striking action to the bouncing action, and from the vibration, in which it keeps occurring frequently and quickly, to fluttering, disappearing, and calmness. This state will always keep changing as such; this is what is called “Anij-jang (the impermanent)”.

- While striking action taking place, it will disappear right away. It can not withstand the striking state. When it changes to new state; it bounces, vibrates, flutters and fades away, even in the said states, it can not withstand its original states; it must disappear right away. This is what is called “the state of Saphap Dukkha (condition of sorrow; misery)”. It is unable to withstand remaining in its state, and it is not stable either.

- It is because the changes take place and vanish abruptly, as such, one can not control the changes as he / she desires to do. It is therefore Anatta (not gathering the separate units into a mass or whole). It has apparent features and phenomena, but without its real entity.

- After having seen and understood the bodily processes of Kaya (physical body), Vedhana (sensation), Citta (thought; a state of consciousness), and Dham (states of being active; actions being carried on) in which they are always in the continually flowing motion. The Anij-jang (the impermanent; continuing changing in status or condition or place), Dukkha (withstanding the status or condition without change), and Anatta (not gathering the separate units into a mass or whole) will then be visibly seen.

(ต้นฉบับภาษาไทย)

พิจารณาธรรมชาติไหลเรื่อยเข้าหลักไตรลักษณ์

- จากกิริยากระทบ แล้วเปลี่ยนเป็นกระดอน เปลี่ยนเป็นสะเทือน แล้วถี่ขึ้นเป็นพลิ้วหาย สงบสงัด การเปลี่ยนสถานะอยู่เสมอคือ อนิจจัง

- ขณะกระทบ ก็ดับสภาพกระทบทันที ทนอยู่ในสภาพกระทบไม่ได้ พอเปลี่ยนสถานะใหม่ เป็นกระเด็นกระดอน สั่นสะเทือน พลิ้วหาย ก้ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ต้องดับทันที เป็น สภาพทุกข์ ทนอยู่ไม่ได้ ไม่คงทน

- เพราะความที่เปลี่ยนไป และด่วนดับ จึงไม่อาจบังคับให้เป็นไปตามความต้องการ จึงเป็น อนัตตา มีลักษณะอาการปรากฏ แต่ไม่เป็นตัวตนที่แท้จริง

- เมื่อรู้เห็นกระบวนการของกาย เวทนา จิต ธรรม ไหลเรื่อย ตลอดเวลา ก็จะประจักษ์แจ้งใน อนิจจัง ทุกขังอนัตตา

------0------

[แปลโดย วีระพล จุลคำภา-Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]