Jcampa

ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าเยี่ยมชม และออกความเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน

You are cordially invited to join sharing your experience here.

เชิญร่วมแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันตรงนี้


ค้นหาบล็อกนี้

วันพฤหัสบดีที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2553

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 29). – Message of the Day-30 December 2010




That is the way the nature is (หัวข้อที่ 29). – Message of the Day-30 December 2010 - CLICK HERE TO SEE BOTH THAI & ENGLISH



(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.



บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11 ต. เกาะพลับพลา

อ. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/



หมายเหตุ:

[ข้อ ความที่ทำเป็นตัวเอน พร้อมทั้งขีดเส้นใต้ ทำไว้เพื่อให้สะดวกกับผู้อ่าน หากท่านที่เข้าใจความหมายคำหลักเหล่านั้นอยู่แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องไปพะวงอ่าน คำอธิบายความหมายที่อยู่ในวงเล็บดังกล่าว ให้ข้ามข้อความตรงนั้นไปเลย จะได้อ่านไม่ขาดตอน ไม่ทำให้ขาดความกลมกลืนในเนื้อหา ที่อธิบายไว้ก็เพื่อให้ชาวต่างชาติ หรือคนที่ไม่สันทัดกับคำหรือข้อความหลักเหล่านั้น จะได้เข้าใจความหมายถูกว่า ทางพระท่านหมายถึงอะไรได้บ้าง]





------29------





Observe Ayatana (the senses) striking one another.



- The state of Paticcasamuppada (the law of causation; truths subject to one another to take place step by step) will continue its processes as follows:-



Avitcha (the ignorance, lack of knowledge) => Sankhara (the world of phenomena) =>

Vinyana (consciousness) => Nama Rupha (mind and matter) => Salayatana (six senses) =>

Phassa (contact) => Vedhana (sensation) => Tanha (desire) => Upaddana (imagination) =>


[ Bhoph (becoming): Jati (birth); Jara (old age; decay); Marana (death).

Soka (sorrow; grief); Parideva (lamentation).]



- Take, for example; sound and ears relate to each other, they link together then become Phassa (a contact). When the ears, sound, and Vinyana (consciousness) meet one another, they cause us to know what is going on, the same as what the accepted external assumption is, together with causing us to know the phenomenon of the state of Paramuttha (ultimate truth) as well.

- Every time the flows coming to meet each other they must exhibit a phenomenon of the state of Paramuttha (ultimate truth) internally, they are striking, bouncing, vibrating, fluttering and fading out, and they become calm and quiet.

- The impact among Salayatana (the six senses) causes one to know their meanings in accordance with the accepted assumption, together with causing one to know about the reaction of Paramuttha (ultimate truth) concealing in Rupha Nama (matter and mind) as well. This is an important lesson which person seeking knowledge of Sacca (the truth) must practice it fully with any possible tricks that can be exercised conveniently. He / she will then understand the nature visibly and profoundly.





(ต้นฉบับภาษาไทย)



สังเกตอายตนะกระทบกัน



- สภาวะปฏิจจสมุปบาทสืบต่อกันดังนี้:-

อวิชชา => สังขาร => วิญญาณ => นามรูป => สฬายตนะ => ผัสสะ => เวทนา => ตัณหา => อุปาทาน => [ภพ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ]

- ยกตัวอย่าง เสียงกับหูมาต่อกัน เชื่อมประสานกันเป็นผัสสะ คือ การประจวบกันของ หู-เสียง-วิญญาณ ทำให้รู้เรื่องราวตามที่สมมุติในภายนอก พร้อมกับรู้อาการที่เป็นปรมัตถ์อยู่ภายใน

- การไหลมาหากันทุกครั้ง ต้องแสดงอาการปรมัตถ์อยู่ภายใน คือกระทบ กระเด็น สั่นสะเทือน พลิ้วหาย สงบสงัด

- การ กระทบกันของสฬายตนะ รู้ความหมายตามสมมุติ พร้อมกับรู้ปฏิกริยาที่เป็นปรมัตถ์แฝงอยู่ในรูปนาม เป็นบทฝึกหัดที่สำคัญที่ผู้ใฝ่รู้สัจจธรรมต้องปฏิบัติเต็มที่ (Practice) ด้วยอุบายที่ตนถนัด จึงจะรู้แจ้งเห็นจริงในธรรมชาติได้ลึกซึ้ง





------0------



[แปลโดย วีระพล จุลคำภา - Veeraphol Julcampa (VJ.) สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

ไม่มีความคิดเห็น: