Jcampa

ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าเยี่ยมชม และออกความเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน

You are cordially invited to join sharing your experience here.

เชิญร่วมแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันตรงนี้


ค้นหาบล็อกนี้

วันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2554

That is the way the nature is (หัวข้อที่ 31).






That is the way the nature is (หัวข้อที่ 31). – Message of the Day-20 January 2011



(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is).•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.


บทความนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่ง เป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

(A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11 ต. เกาะพลับพลา

อ. เมือง จ. ราชบุรี 70000

จะนำเสนอในบล็อกต่อไปนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

Visit us at:

http://worldway.multiply.com/

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/



หมายเหตุ:

[ข้อ ความที่ทำเป็นตัวเอน พร้อมทั้งขีดเส้นใต้ ทำไว้เพื่อให้สะดวกกับผู้อ่าน หากท่านที่เข้าใจความหมายคำหลักเหล่านั้นอยู่แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องไปพะวงอ่าน คำอธิบายความหมายที่อยู่ในวงเล็บดังกล่าว ให้ข้ามข้อความตรงนั้นไปเลย จะได้อ่านไม่ขาดตอน ไม่ทำให้ขาดความกลมกลืนในเนื้อหา ที่อธิบายไว้ก็เพื่อให้ชาวต่างชาติ หรือคนที่ไม่สันทัดกับคำหรือข้อความหลักเหล่านั้น จะได้เข้าใจความหมายถูกว่า ทางพระท่านหมายถึงอะไรได้บ้าง]


-31-


If one can see the disappearance of Vedhana (the sensation), Tanha (the desire) will never exist.

- Knowing and seeing Vedhana (the sensation) at the same time while it is vanishing abruptly, Tanha (the desire) existing in the thing flowing to strike the Vedhana (the sensation) will never take place, because everything has vanished and changed urgently to the emptiness. This is what is called Tathata (or it is what it is), therefore there is neither gladness nor unhappiness to take place any longer.
- If one does not perceive the disappearance of Vedhana (the sensation), there will, of course, be gladness and unhappiness to take place in the thing coming to strike it. Hence, Tanha (the desire) will therefore be taken place by the thing coming to strike the Vedhana.
- Upadhana (the clinging or remaining emotionally; remaining intellectually attached; putting one's thinking on what he / she envisages to be; putting one's thinking on what he / she had in mind) of a fast attachment to that Tanha (the desire) will later be brought about, it will bind firmly beforehand to the ground of Bhava Bhuta (the state of existence) tightly and firmly to the extent that it becomes the real entity of oneself. Then grief and groaning resulted from unfulfillment of the expected hope will later continue to come up again and again until one gets old and sick, however, he / she will still not be able to realize it, until the death comes, and the reoccurrence thereof will continue to take place again after one’s rebirth. (See29).
- Paticcasamuppada (the law of causation; truths subject to one another to take place step by step) is divided into 2 types, namely Samut-thayavara and Nirodhavara.
- Samut-thayavara is a period of time occurring in connection with the cycle of birth; getting old, ailment, and death (Sangsaravatta, or Samsaracakka). The acts of deed will carry on along with the period of time of the unknowingness, thereby the occurrence of good or bad deed and hostile action will keep coming up repeatedly without ending.
- Nirodhavara is a period of time during which one knows or perceives the disappearance of the state, it is because one has intelligence or wisdom, knowing, seeing, and understanding the traces of origination of everything. Tathata (or it is what it is) and an absolute disappearance of Avitcha (the lack of essential knowledge; ignorance) will then appear to be seen.
- The acts of good or bad deed will end during the time at which one perceives that the persistently flowing nature is Tathata (it is what it is). The good or bad deed and hostile action will end because one knows and sees them through one’s wisdom.



(ต้นฉบับภาษาไทย)



เห็นความดับของเวทนา ตัณหาไม่เกิด

- การรู้เห็นทันตรงเวทนาดับลงอย่างฉับพลัน ตัณหาในสิ่งที่ไหลมากระทบก้จะไม่เกิด เพราะทุกสิ่งดับลงสู่ความว่างเปล่าเฉพาะหน้า เป้นตถตา ความยินดียินร้ายจึงไมเกิด
- ถ้าไม่รู้เห็นตรงความดับของเวทนา ก้จะเกิดยินดียินร้ายในสิ่งที่มากระทบ เกิดตันหาเพราะสิ่งนั้น
- ต่อจากนั้น อุปาทาน ความยึดมั่นจริงจังก้เกิดขึ้น ผนึกเป็นภพภูมิไว้ล่วงหน้าแล้ว แล้วแน่นเหนียวกลายเป้นตัวตนของฉันอย่างแท้จริง ความโศกความร่ำไรรำพันต่อความไม่สมหวังก็ติดตามมา จนกระทั่งวัยชราและเจ้บป่วยก็ยังไม่สำนึกได้ จวบจนตายแล้วก็กลับมาเวียนว่ายใหม่อีก (ดู 29)
- ท่านจัดปฏิจจสมุปบาทไว้ 2 สาย คือสายสมุทยวาร และนิโรธวาร
- สมุทยวาร คือ วาระที่สืบต่ออยู่ในสังสารวัฏฏ์ การกระทำกรรมดำเนินไปตามวาระของความไม่รู้ จึงก่อเกิดกรรมไม่รู้จบ
- นิโรธวาร คือ วาระที่รู้ความดับของสภาวะ เพราะมีปัญญารู้เห็น และรู้เค้าเงื่อนของความก่อเกิดของสรรพสิ่ง เห้นความเป้น ตถตา และความดับสนิทลงของอวิชชา
- การกระทำกรรมก้สิ้นสุดลงทุกวาระที่เห็นและรู้ธรรมชาติที่ไหลเรื่อยเป้นตถตา กรรมเวรจึงสิ้นสุดลงเพราะรู้เห้นด้วยปัญญา


-0-


*********************************************************************



ข้อ ความข้างล่างต่อไปนี้ สำหรับผู้รับอีเมล ที่ปรากฎเป็นภาษาแปลกๆ หรือภาษาประหลาด ซึ่งอ่านไม่ได้ ยกเว้นข้อความภาษาอังกฤษ ให้ทำตามข้อความภาษาอังกฤษที่แนะนำตรงนี้ (คือ ให้คลิ๊กหัวข้อตรงคำว่า Message of the Day) ครับ => For complete details in Thai, please CLICK "Message of the Day" at the top of this email, or visit the Blog directly at

< http://worldway.multiply.com >


คลิ๊ก View All ที่อยู่ท้าย ข้อความย่อ ของเรื่องนั้น เพื่อดูหัวข้อต่างๆทั้งหมด หรือจะคลิ๊ก แท็ป “กล่องข้อความเข้า” เพื่อตรวจดูหัวข้อต่างๆที่มีอยู่ในแต่ละหน้าของ Blog ว่าท่านสนใจดูเรื่องอะไรบ้าง (สำหรับ บล๊อก http://worldway.multiply.com ) ส่วน ในบล๊อก http://jcampa-newlook.blogspot.com ท่านสามารถเลือกเปิดแต่ละหน้า (Page) ของบล๊อกได้ด้วยการคลิ๊กที่ "บทความที่ใหม่กว่า" หรือ "บทความที่เก่ากว่า"

เขียนโดย VJ. [Veeraphol Julcampa: วีเจ. (วีระพล จุลคำภา)] 20 January 2011

สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบใด หรือนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร ข้อความนี้ เขียนขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มเติม ต่อยอด ขยายความจากที่มีในหนังสือ และเป็นการทำให้ทันสมัย (update) พร้อมทั้งเน้น (highlight) หรือกระตุ้นให้เป็นทีน่าสนใจหรืออยากรู้มากขึ้น (encourage) และ เพื่อเป็นการตอกย้ำให้จำได้ดีขึ้น (emphasize) ให้ผู้อ่านได้คุ้นเคยกับคำนั้นๆ (familiarize readers with) และนำมากล่วย้ำอีกครั้ง (reiterate) หรือ เวลาจะใช้ หรือไปอ่านเจอ จะได้นึกขึ้นได้ (recall) แบบฉับพลัน ทันที

ทั้งนี้เพื่อเป็นการขอบคุณ และบริการหลังขายให้กับท่านที่ซื้อและ เป็นเจ้าของหนังสือ

Dictionary of Names, Positions, Occupations in English, and Common Phrases
หนังสือประมวลคำศัพท์ที่หายากเกี่ยวกับ ชื่อ ตำแหน่ง อาชีพในภาษาอังกฤษ และวลีที่ใช้งานกันทั่วไป

ติดต่อที่ โทร: 0877055958 / 025320942 หรือ

Email: myvictory32@hotmail.com
CC: victory267@yahoo.com

ไม่มีความคิดเห็น: