Jcampa

ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าเยี่ยมชม และออกความเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน

You are cordially invited to join sharing your experience here.

เชิญร่วมแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันตรงนี้


ค้นหาบล็อกนี้

วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

That is the way the “Nature” is (Contents)

That is the way the “Nature” इस


(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is) .•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.


Contents:

No.

Page

1.

A sage studies the nature in order to understand it profoundly.

1

2.

Ayatana (senses or the twelve spheres) and Khantha (aggregates or five groups of existence) are Paramuttha (the alert state of ultimate truth) in which the assumption thereof will be learned about.

1

3.

Sammut paramuttha (the assumption of ultimate truth) keeps coming up repeatedly inside Ayatana (senses), Khantha (aggregates) and Dhatu (elements or natural conditions).

2

4.

Sound moves to strike the ears.

3

5.

Ears and sound cause Khantha (the five groups of existence or the five aggregates) to happen for functioning in perceiving the temperament.

3

6

Khantha (five aggregates) in the persistently flowing nature moving inside the temperament continuously.

4

7

Rupha Dhatu (matter of element or corporeality of element) and Nama Dhatu (mind of element) are more delicate than Ayatana (the senses) and Khantha (groups of existence).

5

8

The attracting and impelling manners of soil, water, wind, and fire cause Rupha Nama (matter and the mind) to come up.

5

9

Nama (mind) indicates features of Rupha (matter).

6

10

Knowing Khantha (five groups of existence) skillfully will result in being aware of the attracting and impelling manners of Dhatu (elements).

6

11

Momentum of soil, water, wind, and fire gives rise to Saphap Dham (the state of being active; the state of action being carried on).

7

12

Actions causing momentum to occur.

7

13

Knowing what the momentum is up to is the way the training gets started in Sila (normality; being normal; not liable to change), Samathi (concentration) and Panya (wisdom).

8

14

Practice observing momentum while a rain drop is falling onto water surface.

8

15

By applying academic knowledge to explain the state of likelihood of the nature.

9

16

By using the exterior to compare with the internal feelings.

9

17

Practice the internal process extensively.

10

18

Keep practicing it (the internal process) regularly when the process has become complicated.

11

19

By using the natural process for considering Sati Path-than 4 (the four foundations of mindfulness).

11

20

Trying to concurrently consider both coarseness and delicacy of feelings.

12

21

Look at Kaya (physical body), Vedhana (sensation), Citta (thoughts or a state of consciousness), and Dham (the state of being active) using every Dhavara (bodily door) to take place.

12

22

Consider the continually flowing nature according to principles of Lak Trilak (the three signs of being or common characteristics).

13

23

Practice repeatedly until you become familiar with the process.

13

24

The same process used for considering Paticcasamuppada (the law of causation or the dependent origination).

14

25

Understand Rupha Nama (the matter and the mind) and look at them in order to get to know them convincingly.

14

26

Take a look at Rupha Nama (the matter and the mind) more closely.

15

27

Take a look at Rupha Nama (the matter and mind) more extensively until they become an individual.

16

28

Vinyana (Consciousness) and Rupha Nama (the matter and mind) have Salayatana (the six senses).

17

29

Observe Ayatana (the senses) striking one another.

17

30

If you can see Vedhana (the sensation) clearly, you will understand other Sabhava (states) as well.

18

31

If you can see the disappearance of Vedhana (the sensation), Tanha (the desire) will never exist.

19

32

Ending of Kamma (the deed or what people do or cause to happen) and ending of Vera (the hostile action or enmity) resulted from doing righteous functions.

20

33

Imaginary Jao Kamma (a trouble-making person; one who did something to others in the past) and Nai Vera (a person resulted from what someone did something to them in the past; one who received sufferings from the deeds of others in the past).

21

34

Real Jao Kamma (a trouble-making person) and Nai Vera (a person resulted from what someone did something to them in the past).

21

35

Practice observing Ayatana (the senses) extensively in order to understand them clearly and convincingly.

22

36

Perfect ending of Vera Kamma (trouble-making actions and outcomes of the deeds made to a certain person in the past).

23

37

Eternal life.

24

38

The ultimate secret of the nature.

24

(ต้นฉบับ ภาษาไทย)

ตถตา

ธรรมชาติเป็นเช่นนั้นเอง

สารบาญ

ลำดับ

หน้า

1.

บัณฑิตศึกษาธรรมชาติเพื่อรู้แจ้ง

1

2.

อายตนะและขันธ์เป็นปรมัตถสภาวะไหวตัวให้รู้สมมุติ

1

3.

สมมุติปรมัตถ์เกิดซ้อนกันในอายตนะ ขันธ์ ธาตุ

2

4.

เสียงไหลมากระทบหู

3

5.

หูกับเสียงทำให้ขันธ์ 5 เกิดขึ้นมาทำหน้าที่รู้อารมณ์

3

6

ขันธ์ 5 เป็นธรรมชาติไหลเรื่อยอยู่ภายใน

4

7

รูปธาตุ นามธาตุ ละเอียดกว่าอายตนะและขันธ์

5

8

อาการดูดผลักของดิน น้ำ ลม ไฟ ทำให้เกิดรูปนาม

5

9

นามบอกลักษณะของรูป

6

10

รู้ขันธ์ 5 ได้คล่อง จึงจะรู้ความดูดผลักของธาตุ

6

11

โมเมนตั้มของ ดิน น้ำ ลม ไฟ ทำให้เกิดสภาพธรรมต่างๆ

7

12

กิริยาที่ทำให้เกิดโมเมนตั้ม

7

13

การรู้ทันโมเมนตั้ม คือการอบรมศีลธรรมสมาธิปัญญา

8

14

ฝึกสังเกตโมเมนตั้ม เมื่อหยดฝนกระทบผิวน้ำ

8

15

อาศัยความรู้ทางวิชาการมาอธิบายความเป็นไปของธรรมชาติ

9

16

อาศัยภายนอกมาเปรียบเทียบกับความรู้สึกภายใน

9

17

ฝึกฝนให้มากในกระบวนการภายใน

10

18

ฝึกฝนเมื่อกระบวนการซับซ้อน

11

19

อาศัยกระบวนการธรรมชาติไปพิจารณาสติปัฎฐาน 4

11

20

พิจารณาควบกันทั้งหยาบละเอียด

12

21

ดูกายเวทนา จิตธรรมที่อาศัยเกิดในทุกทวาร

12

22

พิจารณาธรรมชาติไหลเรื่อยเข้าหลักไตรลักษณ์

13

23

ฝึกฝนซ้ำซากให้คุ้นเคยกับกระบวนการ

13

24

กระบวนการเดิมใช้พิจารณาปฏิจจสมุปบาท

14

25

เข้าใจรูปนามและให้รู้เห็นจริง

14

26

ดูรูปนามให้กระชั้นชิดเข้าไปอีก

15

27

ดูรูปนามให้กว้างขวางยิ่งขึ้นจนเป็นบุคคล

16

28

วิญญาณและนามรูปมีสฬายตนะ

17

29

สังเกตอายตนะกระทบกัน

17

30

เห็นเวทนาชัดก็จะรู้สภาวะอื่นๆด้วย

18

31

เห็นความดับของเวทนา ตัณหาไม่เกิด

19

32

สิ้นกรรมสิ้นเวรเพราะทำหน้าที่ถูกต้อง

20

33

เจ้ากรรมนายเวรตามสมมุติ

21

34

เจ้ากรรมนายเวรที่แท้จริง

21

35

ฝึกฝนให้มากเพื่อรู้แจ้งเห็นจริง

22

36

การสิ้นเวรกรรมที่สมบูรณ์

23

37

ชีวิตนิรันดร

24

38

ความลับสุดยอดของธรรมชาติ

24

***********************************************************

แปลโดย VJ. [Veeraphol Julcampa: วีเจ. (วีระพล จุลคำภา)] 30 September 2010
นักแปลอิสระ ผู้เขียนเรียบเรียงหนังสือ

Dictionary of Names, Positions, Occupations in English, and Common Phrases

หนังสือประมวลคำศัพท์ที่หายากเกี่ยวกับ ชื่อ ตำแหน่ง อาชีพในภาษาอังกฤษ และวลีที่ใช้งานกันทั่วไป

มีจำหน่ายตามร้านหนังสือชั้นนำทั่วไป หรือจะติดต่อไปที่

โทร: 0877055958 / 025320942 หรือ

Email: myvictory32@hotmail.com

CC: victory267@yahoo.com หรือ wrpj@thaimail.com



[สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]

วันพุธที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553

That is the way the “Nature” is.-(Preface)

(¯`*•.(¯`*•. Tathata (it is what it is) .•*´¯).•*´¯)

That is the way the nature is.

บทความต่อไปนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา

ซึ่งเป็นอีกลีลาหนึ่งในการนำเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรม ด้วยการเลือกใช้มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการพิจารณาค้นหาข้อเท็จจริง หรือสัจธรรม ที่หาอ่านได้ไม่ง่ายนัก เพราะเป็นการฉีกแนว คิดนอกกรอบแตกต่างไปจากคำแนะนำที่มีการกล่าวถึงกันทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใฝ่รู้ เสาะหาแนวทางในการปฏิบัติธรรมอีกแง่มุมหนึ่ง

ซึ่งเขียนโดย

อุบาสิกา (อบ.) ละมัย จุลคำภา (Female Ascetic Lamai Chulkampha)

( A female devotee who practices self-denial as a spiritual discipline)

แห่งสำนักปฏิบัติธรรมเขาสวนหลวง

36 หมู่ 11. เกาะพลับพลา

. เมือง . ราชบุรี 70000

และแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดย

วีระพล จุลคำภา-VJ. (Veeraphol Julcampa)

myvictory32@hotmail.com

จะนำเสนอในบล็อกนี้ จนจบเล่ม พร้อมทั้งต้นฉบับ ภาษาไทยและคำแปล อังกฤษ

สามารถเข้าไปอ่านได้ทั้งที่

http://worldway.multiple.com

และ

http://jcampa-newlook.blogspot.com/

Preface (คำนำ)

If a comparison is made among a research study, training and practice on Dhamma (the teachings of the Buddha, or the truth), as a matter of fact, it is something like an operation of a simple arithmetic problem, take, for example:-

a. 1+3+2+4-8 = 2

b. 2x3+6 = 12

c. 40+8 ÷6 = 8

The outcome derived from such operation is an achievement or a success resulted from data in which they consist of calculating elements. Now, once an answer obtained as a result thereof, the data are therefore used as evidence to help confirm the correct answer of each calculation outcome.

Training and practicing Saphava Dham (condition of being active; condition of action being performed), commencing from observation of the striking phenomenon taking place inside Ayatana (the senses). The striking will vary until it finally ends in the calmness and quiet. The same way as the momentum, generated from and also driven by impelling forces, will also be used as evidence and as the data making us understood that the practice of the Saphava Dhamma has been performed correctly and step by step in accordance with the process of the nature. A person, who has practiced the Saphava Dham (condition of being active; condition of action being performed) to the extent that he / she can clearly understand how the thing is happening. That is a progress in Vipassana (the intuitive vision), the way one can see the state of nature clearly and profoundly, in a way the reality is.

Finally, the outcome has therefore ended with seeing and knowing Nibbhana (nirvana), it thereby tells us that the states of emptiness, balance and calmness of the nature have perfectly been taken place. Person performing the practice of Dhamma (Buddha's teachings or the truth) can therefore touch the reality thereof with one’s own mind and intelligence.

……………………………………….

Ascetic Lamai Chulkampha

23 June 2010

(ต้นฉบับ ภาษาไทย)

คำนำ

ถ้าจะเปรียบการค้นคว้าศึกษา ฝึกฝน อบรมการปฏิบัติธรรม (Practice) คือการทำเลขคณิตแบบง่ายๆ เช่น

ก. 1+3+2+4-8 = 2

ข. 2x3+6 = 12

ค. 40+8 ÷6 = 8

ผลลัพธ์ที่ได้คือความสำเร็จ ซึ่งอาศัยข้อมูลทุกอย่างเป็นส่วนประกอบในการคิด เมื่อได้คำตอบเป็นผลลัพธ์แล้ว ข้อมูลก็เป็นหลักฐานช่วยยืนยันความถูกต้องของผลลัพธ์

การอบรม ฝึกฝนสภาวธรรม ที่เริ่มต้นสังเกตอาการกระทบกัน แล้วแปรเปลี่ยนไป จนสิ้นสุดลงที่ความสงบสงัด ก็เช่นเดียวกัน โมเมนตั้มที่ขับเคลื่อนไป ก็เป็นหลักฐาน เป็นข้อมูลให้รู้ว่า การปฏิบัติได้นำเนินไปตามกระบวนการของธรรมชาติ อย่างถูกต้องตามขั้นตอน ผู้ฝึกรู้เห็นชัดในอาการเป็นนั้นๆ นี่คือการเจริญวิปัสสนา เห็นแจ้งในสภาวะธรรมชาติ ตามที่เป็นจริง

ผลจึงสิ้นสุดลงด้วยการรู้เห็นนิพพาน สภาพที่เป็นความว่าง ความสมดุล ความสงบสงัดของธรรมชาติอย่างสมบูรณ์ ที่ผู้ปฏิบัติสามารถสัมผัสได้ด้วยใจ และสติปัญญา

________-ลายมือชื่อ-_________

23 มิถุนายน 2553

***********************************************************

แปลโดย VJ. [Veeraphol Julcampa: วีเจ. (วีระพล จุลคำภา)] 17 September 2010
นักแปลอิสระ ผู้เขียนเรียบเรียงหนังสือ

Dictionary of Names, Positions, Occupations in English, and Common Phrases

หนังสือประมวลคำศัพท์ที่หายากเกี่ยวกับ ชื่อ ตำแหน่ง อาชีพในภาษาอังกฤษ และวลีที่ใช้งานกันทั่วไป

มีจำหน่ายตามร้านหนังสือชั้นนำทั่วไป หรือจะติดต่อไปที่

โทร: 0877055958 / 025320942 หรือ

Email: myvictory32@hotmail.com

CC: victory267@yahoo.com หรือ wrpj@thaimail.com



[สงวน สิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ ทำซ้ำไม่ว่าจะดัดแปลงเนื้อหา หรือข้อมูลให้อยู่ในรูปแบหนึ่งแบบใด เพื่อนำไปลงในสื่อชนิดใดก็ตาม ก่อนได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษร]